หน่วยฐาน
- หน่วยฐานเหล่านี้เป็นหน่วยพื้นฐานของทุกๆหน่วยSIตัวอื่นที่มีอยู่ ตารางต่อไปนี้สรุปหน่วยฐาน
คำนำหน้าหน่วย
- หน่วยเมตริกใช้คำนำหน้าเพื่อระบุว่าปริมาณมีขนาดใหญ่เท่าใด ตัวอย่างเช่น ถ้าคุณซื้อ แอปเปิ้ล5 กิโลกรัม คุณมีลูกแอปเปิ้ลทั้งหมดกี่กรัม?
คำตอบ ทุกๆหนึ่งกิโลกรัมจะมี 1000 กรัม คูณ : 5 กิโลกรัม x 1000 กรัม /1 กิโลกรัม = 5000 กรัม
- สังเกตว่าฉันได้ทำอัตราส่วน เนื่องจากมันมี1000กรัมในหนึ่งกิโลกรัม ฉันทำอัตราส่วน 1 กิโลกรัม:1000กรัม และใช้มันในการคูณ ฉันรู้ได้อย่างไรว่าจำนวนไหนควรใส่ด้านบน?ทำไมฉันคูณ 5 กิโลกรัม ด้วย 1 กิโลกรัม/1000กรัม?
- คุณต้องตัดหน่วย “กิโลกรัม” โดยการใส่ปริมาณ "1 กิโลกรัม" ในตรงส่วน ฉันจึงสามารถ “หาร”ด้วยกิโลกรัมและได้หน่วยสุดท้ายเป็นกรัม นี่คือหลักปริมาณสารสัมพันธ์อย่างง่าย
- ใช้ตารางนี้เพื่อแปลงระหว่างคำหน้าของหน่วย SI อย่างรวดเร็ว ตารางนี้แสดงว่า คำหน้า "k" หมายถึง สิ่งที่ใหญ่กว่าหน่วยSI 1000 เท่า ในกรณีของเรา "k" กรัม คือ ใหญ่กว่าหนึ่งกรัม1000เท่า
หน่วยอนุพัทธ์
- เราจะเน้นที่หน่วยอนุพัทธ์15หน่วยจากระบบSI เพราะส่วนที่เหลือเป็นหน่วยที่ไม่นิยมใช้ในวิชาเคมี หน่วยอนุพัทธ์ถูกสร้างโดยความสัมพันธ์ทางคณิตศาสตร์ระหว่างหน่วยฐาน
ตารางนี้สามารถใช้เมื่อทำโจทย์ที่ท้าทายกว่า
หน่วยอนุพัทธ์ที่ไม่ใช่หน่วย SI ที่นักเคมีใช้คือ
- 1 นาที,minute (min) = 60 วินาที
- 1 ชั่วโมง,hour (h) = 60 นาที
- 1 วัน,day (d) = 24 ชั่วโมง
มุมระนาบ(ดีกรี,degree)
- 1 ลิตร,liter (L) = 10-3 m3
- 1 บาร์, bar (bar) = 105 Pa,ปาสคาล
- 1 อางสตรอม,Angstrom (Å) = 10-10 m,เมตร
- 1 อิเล็กตรอนโวลต์, electronvolt (eV) = 1.60218 x 10-19 J,จูลน์
- 1 unified mass unit (u) = 1.66054 x 10-27 kg,กิโลกรัม
หมายเหตุ: สามหน่วยสุดท้ายของการวัดถูกใช้ในการอธิบายปริมาณในระดับอะตอม 1 eV คือประจุที่1หนึ่งอิเล็กตรอนมี
ตัวอย่าง : คุณกำลังขับรถ100 กิโลเมตร/ชั่วโมง จงอธิบายหน่วยนี้ในหน่วยSI
- หน่วยสำหรับอัตราเร็วคือ เมตรต่อนาที m/s
- ในหนึ่งกิโลเมตร มี 1000เมตร
- ในหนึ่งชั่วโมงมี 3600 วินาที
- จำไว้ว่าในการใส่หน่วยคุณต้องการกำจัดเศษส่วนอัตราส่วนที่อยู่อีกข้าง หน่วยสุดท้ายที่คุณต้องการอยู่ข้างของอัตราส่วนที่คุณต้องการ นี่ทำให้ตัดหน่วยที่ไม่ต้องการและแทนที่พวกมันด้วยหน่วยใหม่
- 100 km/h x 1000 m/1 km x 1 hour/3600s = 27.8 m/s
- แปลงความหนาแน่นของ 1.5 kg/m3 เป็น g/cm3.
- 1 kg = 1000 g
- 1 m3 = 1 000 000 cm3
- 1.5 kg/m3 x 1 m3/1 000 000 cm3 x 1000 g/ 1 kg = 1.5 x 10-3 g/cm3
ข้อมูล https://sites.google.com/a/sapit.ac.th/june-265/02-kar-wad-kha-thang-withyasastr-ni-sakha-khemi/1-priman-sar-khemi
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น